วันที่ 4 ต.ค. 2566 นายฐิติธร บุพพารัมณีย์ นายกสมาคมผู้ประกอบการธุรกิจอาวุธปืนแห่งประเทศไทย บอกว่า "ปืนแบลงค์กัน" เหมือนกับยาเสพติด ถ้าไม่รู้แหล่งก็หาซื้อไม่ได้ ส่วนใหญ่มีขายในออนไลน์ มีทั้ง สิ่งเทียมอาวุธปืน ลักลอบขายลำกล้อง
ปืนแบลงค์กันส่วนใหญ่มักใช้ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ใช้เป็นปืนประกอบฉาก ใช้ยิงให้เกิดเสียง แต่กระสุนที่ใช้จะต่างกันปืนจริง
ศาลเยาวชนฯ สั่งส่งตัวเด็ก 14 ปียิงในพารากอน เข้าสถานพินิจฯ
กรมพินิจฯ แจงกระบวนการยุติธรรมอาญาเด็กและเยาวชน
คือกระสุนปืนแบลงค์กันจะไม่มีปลายกระสุน เวลายิงจะมีแก๊สร้อนพุ่งออกไปทำให้เกิดประกายไฟเหมือนปืนจริง นอกจากอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ยังพบว่า มักใช้ยิงไล่หนก และ ยิงสำหรับปล่อยตัวนักกีฬา แต่ ปืนแบลงค์กันธรรมดา จะใช้กับกระสุนจริง ไม่ได้ ยกเว้นว่านำไปดัดแปลง แบบกรณีของเด็ก 14 ปี
นายฐิติธร ยังบอกอีกว่า แบลงค์กันไม่ได้อยู่ใน พ.ร.บ.อาวุธปืน แต่เป็นสิ่งเทียมอาวุธปืนที่ไม่มีทะเบียน แต่ในกรณีของเด็ก 14 มองว่า เป็นการดัดแปลงและใช้กระสุนจริง เข้าข่ายเป็นอาวุธปืนเถื่อนคำพูดจาก สล็อต777
นายฐิติธร ย้ำว่า กรณีนี้ควรใช้ กฎหมายที่เกี่ยวกับปืนจริง ดำเนินการ ไม่ควรใช้แค่ กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งเทียมอาวุธปืน เพราะโทษน้อยกว่า
ทั้งนี้มีรายงานว่าในปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายควบคุมแบลงค์กัน และการครอบครอง หรือซื้อขายไม่จำเป็นต้องขอใบอนุญาต และหลายหน่วยงานเคยถกกันเรื่องนี้มาแล้ว อย่างกองบัญชาการตำรวจสืบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (สอท.) เคย ยื่นหนังสือขอให้หน่วยงานทางปกครองและกฎหมายพิจารณาว่าแบลงค์กันจัดเป็นอาวุธปืนตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน พ.ศ. 2490 หรือไม่ ปรากฎว่า มีการให้ความเห็นตรงกันว่า ‘แบลงค์กันไม่ใช่อาวุธปืน’หลังจากนี้คงต้องรอดูว่า จะมีการแก้ไขกฎหมายอย่างไรหรือไม่
ค้นบ้านเด็กก่อเหตุยิงกลางพารากอน พบปืนบีบีกัน-กระสุนเพียบ!
ค่าเงินบาทวันนี้ เปิดตลาดอ่อนค่าลงอีก 37.11 จากดอลลาร์แข็ง-ฟันด์โฟลว์ไหลออก
เว็บบล็อกเผย "LINE" นิยมใช้เพียง 3 ประเทศทั่วโลกเท่านั้น